จากนวัตกรรมการจัดการศึกษา สู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย | รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 165)
กรณีศึกษาโรงเรียนร่วมพัฒนา ทั้ง 4 แห่ง ได้แก่ 1. โรงเรียนมีชัยพัฒนา ต.โคกกลาง อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ 2. โรงเรียนบ้านสันดาบ ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
กรณีศึกษาโรงเรียนร่วมพัฒนา ทั้ง 4 แห่ง ได้แก่ 1. โรงเรียนมีชัยพัฒนา ต.โคกกลาง อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ 2. โรงเรียนบ้านสันดาบ ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
ดร.วณี ปิ่นประทีป ข้าราชการบำนาญกระทรวงสาธารณสุข เคยช่วยทำหน้าที่เลขานุการให้กับคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ(อานันท์ ปันยารชุน) และคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป (ประเวศ วะสี) ปัจจุบันเป็นนักพัฒนาอิสระที่มีงานเชื่อมโยงกับเครือข่ายภาคประชาสังคมจังหวัดทั่วประเทศ
คุณทิพย์พาพร ตันติสุนทร ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา ท่านทำงานร่วมกับมูลนิธิ Konrad Adenauer
ในการลงพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2565 ของคณะกรรมาธิการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา มีสมมติฐานตั้งต้นว่า
ในขณะที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. กำลังถกกันเรื่องทางออกทางเลือกสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 15,000 แห่ง ที่มีนักเรียนต่ำกว่า 120 คน ว่าควรเป็นเช่นไร
ในการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. ประเด็นหนึ่งที่คณะกรรมาธิการวิสามัญของรัฐสภา (ส.ส. และ ส.ว.) รู้สึกเป็นห่วงเป็นใยและมีความเห็นแยกกันเป็นหลายแนว
ในบรรดานโยบายปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ ที่วุฒิสภาเฝ้าติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดอยู่ในขณะนี้
ในคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา เราเห็นความสำคัญของระบบการศึกษา
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา นำโดยประธาน รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ ได้ไปเยี่ยมคุณมีชัย วีระไวทยะและรับฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนมีชัยพัฒนาและเครือข่ายในโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนาที่ท่านรับผิดชอบ
การปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและปฏิรูประบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
ในโอกาสที่ ร่าง พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. เข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมใหญ่รัฐสภา เพื่อรับหลักการในวาระที่ กระผมได้อภิปราย แสดงความคิดเห็นในเชิงหลักการเพิ่มเติมในบางประเด็นที่สนใจ ดังนี้
โดย ส.ว.พลเดช ปิ่นประทีป สถานการณ์ปัญหาการเข้าถึงระบบการศึกษา ประเทศไทยมีเด็กที่อยู่ในครอบครัวซึ่งขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาสทางการศึกษา โดยมีทั้งกลุ่มเด็กแรกเกิดจนถึงกลุ่มวัยที่อายุ 18 ปีขึ้นไป