รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 126) “ปฏิรูปการศึกษาจากชายขอบ”
ในการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. ประเด็นหนึ่งที่คณะกรรมาธิการวิสามัญของรัฐสภา (ส.ส. และ ส.ว.) รู้สึกเป็นห่วงเป็นใยและมีความเห็นแยกกันเป็นหลายแนว
ในการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. ประเด็นหนึ่งที่คณะกรรมาธิการวิสามัญของรัฐสภา (ส.ส. และ ส.ว.) รู้สึกเป็นห่วงเป็นใยและมีความเห็นแยกกันเป็นหลายแนว
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มีส่วนราชการระดับกรม 5 หน่วยงาน
ในบรรดานโยบายปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ ที่วุฒิสภาเฝ้าติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดอยู่ในขณะนี้
ในโอกาสที่แผนปฏิรูปประเทศเดินทางมาถึงปีสุดท้าย ขอมองบทเรียนด้านข้อจำกัดของกระบวนการขับเคลื่อนการปฏิรูป และบทบาทของวุฒิสภาในการติดตาม เสนอแนะและเร่งรัดการดำเนินงานของฝ่ายบริหาร
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา นำโดยประธาน รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ ได้ไปเยี่ยมคุณมีชัย วีระไวทยะและรับฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนมีชัยพัฒนาและเครือข่ายในโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนาที่ท่านรับผิดชอบ
การทุจริตและประพฤติมิชอบเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทยมาช้านาน มีลักษณะซับซ้อนเชื่อมโยงกันอย่างรุนแรง
เมื่อได้ศึกษาข้อมูลจากรายงานการปฏิรูปประเทศและการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติด้านสังคมในรอบล่าสุดและดูย้อนหลังกลับไปในบางช่วง
เมื่อปลายปีที่แล้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้แถลงว่านักวิทยาศาสตร์ไทยมีขีดความสามารถที่จะประดิษฐ์ยานอวกาศไปโคจรรอบดวงจันทร์
ถึงเครือข่ายผู้นำองค์กรชุมชน ภาคประชาสังคมและเครือข่ายท้องถิ่น-ท้องที่วิถีใหม่ ทุกจังหวัด.
โดย นพ.พลเดช ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา, 12 มีนาคม 2020 การให้ประชาชนทุกคนทุกเพศวัย มีความรอบรู้และเท่าทันปัญหาสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญกว่าอื่นใด
สังคมไทยได้ผ่านการต่อสู้ทางแนวคิดและแนวทางในการจัดการปัญหา “คนกับป่า” มาร่วม 30 ปี โดย นพ.พลเดช ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา
โดย นายแพทย์ พลเดช ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา หลุมพรางของการปฏิรูป ที่สังคมไทยมักจะพลาดพลั้งตกลงไปคือได้ทำแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ