พลเดช ปิ่นประทีป

แก้จน-ลดเหลื่อมล้ำ ด้วยการศึกษาคุณภาพใหม่

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 45/2566) แม้สถานการณ์ความยากจนในประเทศไทยจะมีแนวโน้มลดลงมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับในรอบสามสิบปี แต่การขจัดความยากจนให้หมดไป โดยเฉพาะประชากรเป้าหมายกลุ่มท้ายๆ มักมีความยากลำบากในการเข้าถึง อย่างที่เรียกกันว่า Last Mile Research


ปางมะโอ ชุมชนลาหู่ บนปุยเมฆ

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 44/2566) ในวาระขึ้นปีงบประมาณใหม่ ทีมงานโฆษกคณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะและเร่งรัดการปฏิรูปประเทศฯ ประกอบด้วย ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม , พลเดช ปิ่นประทีป และ ดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์


ขยายโครงสร้างพื้นฐานลดเหลื่อมล้ำ

จีนแก้จน (ฉบับที่ 10) ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศจีนได้ลงทุนในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในชนบทอย่างทั่วถึงด้วยงบประมาณการลงทุนที่มหาศาลมาก


เลือกทำเกษตรมูลค่าสูง

จีนแก้จน (ฉบับที่ 10) จากการสังเกตุในระหว่างการเดินทางไปศึกษาดูงานและท่องเที่ยวทัศนศึกษาประเทศจีนในโอกาส สถานที่และภูมิภาคต่างๆ พบว่าชนบทจีนมีการทำการเกษตรในลักษณะ “ทำสวน” กันอยู่ทั่วไป


น้ำการเกษตร-คมนาคม

จีนแก้จน (ฉบับที่ 9) จีนเป็นประเทศที่มีแม่น้ำสายใหญ่พาดผ่านหลายสายและมีลำน้ำสาขาแผ่คลุมไปทั่วทุกพื้นที่ จึงมีอารยธรรมและภูมิปัญญาในการทำเกษตรกรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ


ลิทัวเนีย-เอสโทเนีย เมืองสวยงาม ประเทศเสมือนจริง

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 43/2566) เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2566 ผมมีโอกาสเป็นตัวแทนของรัฐสภาไทย ให้การต้อนรับท่านเอกอัครราชฑูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มแห่งสาธารณรัฐลิทัวเนียประจำประเทศไทย นายดาริอุส ไกดีส ถิ่นพำนักอยู่ที่สิงคโปร์


แก้แล้ง-หายจน ด้วยฝายแกนดินซีเมนต์

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 42/2566) ที่ดินทำกินและแหล่งน้ำการเกษตรเป็นปัจจัยความยากจนในเชิงโครงสร้าง บทความนี้จะพิจารณาเรื่องแหล่งน้ำการเกษตร โดยเฉพาะฝายแกนดินซีเมนต์อันน่าจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการแหล่งน้ำชุมชนขนาดเล็กในอนาคต


ปฏิรูปที่ดิน ลดเหลื่อมล้ำ

จีนแก้จน (ฉบับที่ 8) ที่ดินทำกิน เป็นปัจจัยความยากจนในเชิงโครงสร้าง โดยเฉพาะสำหรับเกษตรกรและชาวชนบท ทั้งในประเทศไทย จีน และอื่นๆ ทั่วโลก


ประเมินผลเข้มข้น

จีนแก้จน (ฉบับที่ 7) จีนมีการแยกการบริหารจัดการงานแก้ความยากจนในพื้นที่ชนบทกับการแก้ปัญหาคนจนเมืองออกจากกัน เพราะต่างก็มีลักษณะของปัญหาและบริบทที่แตกต่างกัน จึงมีนโยบายและหน่วยงานรับผิดชอบเฉพาะที่แยกกันออกไป


ราชบุรี เมืองหลวงมะพร้าวน้ำหอม

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 41/2566) เมื่อเดือนกันยายน คณะทำงานการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา ได้รับเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียนจากเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกผลไม้ส่งออกราชบุรีว่า มีปัญหาเรื่อง อบจ.


พุ่งเป้าแก้ปัญหาแบบตรงจุด 

จีนแก้จน (ฉบับที่ 6) จีนได้กำหนดกรอบระยะเวลาในการดำเนินงานแก้ความยากจนและฟื้นฟูพัฒนาประเทศต่อเนื่องไว้อย่างชัดเจน  โดยแบ่งเป็นแผน 3 ระยะ ดังนี้


โรงเรียนแก้จนกับนวัตกรรมการศึกษา ที่ศรีสะเกษ

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 40/2566) ในช่วงรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มีงานทดลอง-พัฒนารูปแบบปฏิรูปโรงเรียน (Sand box) อย่างน้อย 2 โครงการ คือโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนาที่นายมีชัย วีระไวทยะ เป็นผู้รับผิดชอบ