สภาประชาสังคมไทย

TD Forum 2021

เรียนเชิญเครือข่ายสภาประชาสังคมไทย เข้าร่วมเวทีเสวนาเพื่อติดตามสถานการณ์บ้านเมืองและการขับเคลื่อนงานของสภาประชาสังคมไทย​ในพื้นที่


สภาประชาสังคมไทย ยื่น 14,312 รายชื่อ เสนอกฎหมาย มุ่งเสริมสร้างวัฒนธรรมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม

เครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคมจากพื้นที่ทุกจังหวัดทั่วประเทศ องค์กรไม่แสวงหาผลกําไร เครือข่ายองค์กรปกครองท้องถิ่นองค์กรวิชาชีพ และกลุ่มอาชีพต่าง ๆ จํานวน 139 องค์กร ได้ร่วมกันก่อตั้งเป็น “สภาประชาสังคมไทย” ขึ้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2563 ที่ผ่านมา


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 40) “ เจตนารมณ์ 14 สิงหาคม ก่อตั้งสภาประชาสังคมไทย”

เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2563  ณ เวทีการประชุมสมัชชาระดับชาติของเครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคม ที่โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี 


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 39) “สภาประชาสังคมไทย : กลไกเสริมการมีส่วนร่วม”

การออกแบบสภาประชาสังคมไทย จากการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างองค์กรสภาและสมาคมที่เป็นต้นแบบกรณีศึกษาทั้ง 14 องค์กร เมื่อประกอบเข้ากับลักษณะธรรมชาติและคุณสมบัติเฉพาะขององค์กรภาคประชาสังคม (CSO) ในประเทศไทยในปัจจุบัน คณะวิจัยเสนอให้จัดตั้งกลไกพื้นที่กลางเพื่อการประสานงานและมีความเป็นตัวแทนของเครือข่าย ในนามของ “สภาประชาสังคมไทย”


[e-book] ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของสภาประชาสังคมไทย

“ได้เวลา…ประชาสังคมไทย” ในสมัยโบราณ ประชาชนคนไทยมิได้เป็นอิสระชนเช่นทุกวันนี้ เพราะโดยส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมดเป็นชนชั้นไพร่และทาส ทุกคนต่างมีมูลนายเป็นต้นสังกัด มิเช่นนั้นจะกลายเป็นคนนอกกฎหมาย 


เรื่อง สภาประชาสังคมไทย เรียนพี่น้องเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นและประชาสังคม ทุกจังหวัด ทุกกลุ่ม

1. ตามที่เครือข่ายชุมชนท้องถิ่นและประชาสังคม ได้มีฉันทามติในครั้งการประชุมสมัชชาเครือข่ายฯ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 ว่าจะร่วมกันจัดตั้งสภาประชาสังคมไทย


ข้อบังคับสภาประชาสังคมไทย ว่าด้วยวิธีดำเนินงานของสภาประชาสังคมไทย พ.ศ. ๒๕๖๓

อาศัยอำนาจและหน้าที่ตามข้อ ๑๗ แห่งธรรมนูญประชาสังคมไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะกรรมการสภาประชาสังคมไทยจึงตราออกข้อบังคับว่าด้วยวิธีดำเนินงานของสภาประชาสังคมไทย ขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ 


ธรรมนูญสภาประชาสังคมไทย พ.ศ. ๒๕๖๓

โดยที่เห็นเป็นการสมควรให้จัดตั้งสภาประชาสังคมไทยขึ้น ให้เป็นองค์กรอิสระทำหน้าที่สถาบันกลางและเป็นกลไกเชื่อมโยงการทำงานแบบสานพลังขององค์กรภาคประชาสังคมที่หลากหลาย เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาประเทศและสังคมไทยอย่างยั่งยืน


คําประกาศเจตนารมณ์ การก่อตั้งสภาประชาสังคมไทย (๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓)

ด้วยกระแสการพัฒนาที่ยั่งยืนตามความหมายของสหประชาชาติ โดยเฉพาะเป้าหมาย SDG-17 คาดหวังว่าภาคประชาสังคมและกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา จะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกๆเรื่อง


สรุปการประชุม เชิงปฏิบัติการ “ก่อตั้งสมัชชาองค์กรประชาสังคมไทย” วันที่ 13-14 ส.ค. 2563

ณ ห้องประชุมบอลรูม ชั้น 6โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี โครงการเสริมศักยภาพภาคประชาสังคมเป็นหุ้นส่ววนการสร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน โดย มูลนิธิพัฒนาประชาสังคม


เอกสารประกอบ เวทีการประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 13-14 ส.ค. 2563

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ก่อตั้งสมัชชาองค์กรภาคประชาสังคม” วันที่ ๑๓-๑๔ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมบอลรูม ๒-๓ ชั้น ๖ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี โครงการเสริมศักยภาพภาคประชาสังคมเป็นหุ้นส่วนการสร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน


“การถักทอเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและภาคีเครือข่าย” ภาคใต้ (21 มี.ค. 2563)

สถาบันพัฒนาประชาสังคม (CSDI) ได้รับการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อดําเนินงาน “โครงการเสริมศักยภาพภาคประชาสังคมเป็นหุ้นส่วนการสร้างสังคมสุข ภาวะอย่างยั่งยืน”