การศึกษา

แก้จน-ลดเหลื่อมล้ำ ด้วยการศึกษาคุณภาพใหม่

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 45/2566) แม้สถานการณ์ความยากจนในประเทศไทยจะมีแนวโน้มลดลงมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับในรอบสามสิบปี แต่การขจัดความยากจนให้หมดไป โดยเฉพาะประชากรเป้าหมายกลุ่มท้ายๆ มักมีความยากลำบากในการเข้าถึง อย่างที่เรียกกันว่า Last Mile Research


นวัตกรรมการศึกษาที่ระยอง

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 32/2566) คณะกรรมาธิการ ตสร. วุฒิสภา ได้รับฟังรายงานความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์การดำเนินการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาของจังหวัดระยอง


ระบบการศึกษาทางเลือกกับสถาบันการเมืองวิถีใหม่

นายแพทย์พลเดช  ปิ่นประทีป (บรรยายหลักสูตรนักศึกษาปริญญาตรี รัฐศาสตร์การเมืองเชิงศีลธรรม / 15 มกราคม  2566)


พุ่งเป้าขยายเครือข่ายนวัตกรรมโรงเรียนร่วมพัฒนา | รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 167)

คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนฯ วุฒิสภา มีข้อเสนอแนวนโยบายพุ่งเป้าตัดวงจรความยากจนข้ามรุ่น โดยขยายนวัตกรรมเครือข่ายโรงเรียนร่วมพัฒนา สร้างพลเมืองรุ่นเยาว์  เพื่อการพิจารณาของรัฐบาล พรรคการเมือง และสาธารณชน ดังนี้ 


จากนวัตกรรมการจัดการศึกษา สู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย | รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 165)

กรณีศึกษาโรงเรียนร่วมพัฒนา ทั้ง 4 แห่ง ได้แก่ 1. โรงเรียนมีชัยพัฒนา ต.โคกกลาง อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ 2. โรงเรียนบ้านสันดาบ ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร


การศึกษาเพื่อแก้ความยากจน : วณี ปิ่นประทีป รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 160)

ดร.วณี ปิ่นประทีป ข้าราชการบำนาญกระทรวงสาธารณสุข เคยช่วยทำหน้าที่เลขานุการให้กับคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ(อานันท์ ปันยารชุน) และคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป (ประเวศ วะสี) ปัจจุบันเป็นนักพัฒนาอิสระที่มีงานเชื่อมโยงกับเครือข่ายภาคประชาสังคมจังหวัดทั่วประเทศ


การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง : ทิพย์พาพร ตันติสุนทร รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 159)

คุณทิพย์พาพร ตันติสุนทร ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา ท่านทำงานร่วมกับมูลนิธิ Konrad Adenauer 


“ ญาลันนันบารู ชุมชนสันติสุข ธรรมชาติบริสุทธิ์ ที่อำเภอเทพา ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 136)

ในการลงพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2565 ของคณะกรรมาธิการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา มีสมมติฐานตั้งต้นว่า


“ ปฏิรูปโรงเรียนขนาดเล็ก ในวิถีร่วมพัฒนา ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 128)

ในขณะที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. กำลังถกกันเรื่องทางออกทางเลือกสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 15,000 แห่ง ที่มีนักเรียนต่ำกว่า 120 คน ว่าควรเป็นเช่นไร


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 126) “ปฏิรูปการศึกษาจากชายขอบ”

ในการพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. ประเด็นหนึ่งที่คณะกรรมาธิการวิสามัญของรัฐสภา (ส.ส. และ ส.ว.) รู้สึกเป็นห่วงเป็นใยและมีความเห็นแยกกันเป็นหลายแนว


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 117) “ ปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์และการวิจัย ”

ในบรรดานโยบายปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ ที่วุฒิสภาเฝ้าติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดอยู่ในขณะนี้ 


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 112) “มีชัย วีระไวทยะ นักปฏิรูปตัวจริงเสียงจริง”

ในคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา  เราเห็นความสำคัญของระบบการศึกษา