ขบวนวัฒนธรรมเพื่อสันติภาพสู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2547 เวลา 13.00 น. ขบวนเครือข่ายวัฒนธรรมเพื่อสันติภาพสู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้มาพร้อมกัน ณ สถานีรถไฟหัวลำโพง
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2547 เวลา 13.00 น. ขบวนเครือข่ายวัฒนธรรมเพื่อสันติภาพสู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้มาพร้อมกัน ณ สถานีรถไฟหัวลำโพง
จังหวัดตากมีความได้เปรียบด้านที่ตั้ง สามารถสนองตอบต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนได้เป็นอย่างดี และการตั้งอยู่ปลายแนวเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก(East-West Economic Corridor)
ความแตกต่างระหว่างการค้าปลีกและค้าส่งนั้น มีลักษณะมีนัยยะในการแข่งขันที่แตกต่างกัน จากแต่เดิมที่เราเข้าใจว่าโชห่วยและร้านขายของชำได้รับผลกระทบจากการเข้ามาลงทุนของห้างข้ามชาติขนาดใหญ่
การวิจัยเป็นการสร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญญา คุณค่าความดีงาม เป็นความรู้ที่เกิดจากการยกระดับ ความสำคัญของการวิจัยเพื่อเป็นสะพานเชื่อมระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติไปสู่การเปลี่ยแปลงของสังคมในบริบทที่แท้จริง…..
“ที่ปราจีนตอนนี้มีปัญหาในเรื่องการใช้ทรัพยากรน้ำ…ผมจึงคิดว่าการนำวิทยุกระจายเสียงกำลังส่งต่ำมาใช้ในปราจีน จะทำให้กลุ่มต่างๆมีความเข้าใจในปัญหา และเป็นการเผยแพร่ข่าวสารในชุมชนอีกทางหนึ่งด้วย…..”
วันที่ 19 ตุลาคม 2547 ที่ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก คณะรัฐมนตรีสัญจรนำโดยนายกทักษิณ ชินวัตร ได้อนุมัติให้ยกระดับ 3 อำเภอชายแดนของจังหวัดตากคือ อ.แม่สอด อ.พบพระ และ อ.แม่ระมาด เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
จากการจัดเวที”อีสานโสเหล่” เมื่อวันที่ 27 – 28 พ.ย. 2547 ณ หอประชุมศูนย์กริด อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นการประชุมครั้งที่ 1 ของเวทีระดับภาค
จากการประชุมเวทีเรียนรู้ชีวิตสาธารณะ ภาคใต้ วันที่10-11 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 ณ เลตรัง รีสอร์ท ต.เขาไม้แก้ว อ.สิเกา จ.ตรัง
ประเทศยักษ์ใหญ่อย่างสหรัฐอเมริกายังไม่กล้าทำข้อตกลงเรื่องนี้กับออสเตรเลีย และได้พูดถึงเรื่อง มะละกอ GMOs ที่ปรากฏเป็นข่าวดังในขณะนี้ว่า….
ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างให้ลือโลก และนี่ก็คือ คำขวัญของจังหวัดที่ได้ไปจัดเวทีกิจกรรม “ เพื่อพัฒนาแนวคิดและทักษะงานการสื่อสารเพื่อสาธารณะ หรืออาสาสมัครนักสื่อสาร…..วันที่ 5 – 7 พฤศจิกายน 2547…
เมื่อวันที่ 22-23 กันยายน 2547 ที่ วังสิงห์รีสอร์ท จ.กาญจนบุรี….”เป็นครั้งแรกจริง ๆ ที่ได้มีโอกาสประชุมร่วมกับคนปกติ เราเคยที่ประชุมร่วมกับผู้พิการในชมรมของเรา เพราะเรารู้สึกว่าสังคมยังไม่เปิดโอกาสให้ผู้พิการได้แสดงออกมากนัก”
ท่ามกลางความเจริญที่กำลังย่างเข้ามาสู่ตำบลบ้านยาง อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี