“ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ : คนจนข้ามรุ่น ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 153)
ในกระบวนการจัดทำสมุดปกขาว “ข้อเสนอการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ” ผมได้มีโอกาสสัมภาษณ์ ส.ว. ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ
ในกระบวนการจัดทำสมุดปกขาว “ข้อเสนอการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ” ผมได้มีโอกาสสัมภาษณ์ ส.ว. ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ
เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และภูมิปัญญาแก้จนจากผู้ทรงความรู้ในวุฒิสภา นำไปใช้เป็นกรอบการจัดทำข้อเสนอ เชิงนโยบาย เสนอรัฐบาลชุดต่อไป ผมได้นั่งสนทนาแบบเจาะลึกกับ รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ ประธานกรรมาธิการ การแก้ความยากจนฯ
โดย นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา / 30 ตุลาคม 2565 ในบรรดาเพื่อนร่วมงาน ร่วมอุดมการณ์จำนวนมากและหลากหลาย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอก นายแพทย์ทวีศักดิ์ นพเกษร หรือ “พี่ทวีศักดิ์” เป็นเพื่อนคู่หูที่รู้ใจกันมากที่สุดของผม
กลุ่มสุราษฎร์ธานีวิถีใหม่ ได้ชวนเชิญให้ไปเยี่ยมชมวิถีชีวิตชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากที่อำเภอไชยา พลพรรคเครือข่ายจังหวัดวิถีใหม่ที่อยู่ข้างเคียงสนใจติดตามไปสมทบ ทั้งสงขลา นครศรีธรรมราช และระนอง
แก่งละว้า แหล่งน้ำขนาดใหญ่ของประเทศและภาคอีสาน พื้นที่ชุ่มน้ำขนาด 17,000 ไร่ รองรับมวลน้ำชีจากจังหวัดชัยภูมิ มีความสำคัญต่อชาวบ้าน อ.ไผ่ อ.ชนบท อ.บ้านแฮด อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น
แคน พิณ ซอ โหวด เป็นดนตรีพื้นบ้าน หมอแคน หมอลำ เป็นการแสดงศิลปะวัฒนธรรมพื้นเมืองของพี่น้องชาวไทยและชาวลาวที่อยู่ริมแม่น้ำโขงทั้งสองฟากฝั่ง
ปลีกเวลาวันสุดสัปดาห์ระหว่างสมัยประชุมรัฐสภา ลงไปเยี่ยมศึกษาดูงานชุมชนเข้มแข็งและเศรษฐกิจฐานรากที่นครศรีธรรมราช มีทีมงานนครศรีฯวิถีใหม่เป็นผู้นำทาง
เมืองคูบัว เป็นเมืองโบราณอยู่ห่างจากเมืองราชบุรีไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 12 กิโลเมตร คาดว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 12 และเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญของอาณาจักรทวารวดี
ทวารวดี ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต แปลงมาจากคำว่า โตโลโปตี้ (Tolopoti)
เมื่อเดือนก่อน ได้รับเชิญไปเยี่ยมชมผลงานการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของกลุ่มเครือข่ายราชบุรีวิถีใหม่ เมื่อภรรยาทราบว่าผมมีโปรแกรมไปที่ อบต.คูบัว จึงกระซิบว่าที่นี่เขามีชื่อเสียงเรื่องผ้าตีนจกของชาวไท-ยวน ทั้งยังกำชับให้อุดหนุนสินค้าชาวบ้านด้วย
ภายหลังเสร็จศึกอภิปรายไม่ไว้วางใจ 11 รัฐมนตรี ท่านประธานชวน หลีกภัย ได้นัดหมายประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อพิจารณาการแก้ไขเพิ่มเติม พรป.การเลือกตั้ง และ พรป.พรรคการเมือง ให้ทันฤดูกาลเลือกตั้งใหญ่ที่จะมาถึง
นับจากปี 2563 คณะกรรมาธิการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา ได้ริเริ่มศึกษาพิจารณาและขับเคลื่อนแนวคิดการปฏิรูปการเมืองโดยประชาชน