รายงานประชาชน

“ จากคิรีวง ลงปากพนัง ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 142)

ปลีกเวลาวันสุดสัปดาห์ระหว่างสมัยประชุมรัฐสภา  ลงไปเยี่ยมศึกษาดูงานชุมชนเข้มแข็งและเศรษฐกิจฐานรากที่นครศรีธรรมราช  มีทีมงานนครศรีฯวิถีใหม่เป็นผู้นำทาง


“ เมืองโบราณคูบัว ร่องรอยทวารวดี ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 141)

เมืองคูบัว เป็นเมืองโบราณอยู่ห่างจากเมืองราชบุรีไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 12 กิโลเมตร คาดว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 12 และเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญของอาณาจักรทวารวดี



“ กาดวิถีชุมชนคูบัว เศรษฐกิจวัฒนธรรมไทยวน ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 139)

เมื่อเดือนก่อน ได้รับเชิญไปเยี่ยมชมผลงานการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของกลุ่มเครือข่ายราชบุรีวิถีใหม่ เมื่อภรรยาทราบว่าผมมีโปรแกรมไปที่ อบต.คูบัว  จึงกระซิบว่าที่นี่เขามีชื่อเสียงเรื่องผ้าตีนจกของชาวไท-ยวน ทั้งยังกำชับให้อุดหนุนสินค้าชาวบ้านด้วย


“ แก้ไขเพิ่มเติม กติกาเลือกตั้ง ”  รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 138)

ภายหลังเสร็จศึกอภิปรายไม่ไว้วางใจ 11 รัฐมนตรี ท่านประธานชวน หลีกภัย ได้นัดหมายประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อพิจารณาการแก้ไขเพิ่มเติม พรป.การเลือกตั้ง และ พรป.พรรคการเมือง ให้ทันฤดูกาลเลือกตั้งใหญ่ที่จะมาถึง


“ ปรับดุลการเมือง เริ่มที่รัฐสภา ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 137)

นับจากปี 2563  คณะกรรมาธิการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา ได้ริเริ่มศึกษาพิจารณาและขับเคลื่อนแนวคิดการปฏิรูปการเมืองโดยประชาชน


“ ญาลันนันบารู ชุมชนสันติสุข ธรรมชาติบริสุทธิ์ ที่อำเภอเทพา ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 136)

ในการลงพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2565 ของคณะกรรมาธิการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา มีสมมติฐานตั้งต้นว่า


“ ยกเลิกกฎหมายล้าสมัย ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 135)

วันแรกที่เปิดสมัยประชุม วุฒิสภาได้พิจารณาเห็นชอบ (ร่าง)พ.ร.บ.ยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่น พ.ศ. …. ตามที่รัฐบาลเสนอและผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว


“ อุตสาหกรรมชุมชนท้องถิ่น กับยุทธศาสตร์ชาติด้านการแข่งขัน ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 134)

อุตสาหกรรมและบริการ เป็นภาคการผลิตสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ที่ผ่านมาการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยมุ่งเน้นการผลิตเพื่อการส่งออก โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตและบริการขั้นพื้นฐานในการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ


“ วิจัยนวัตกรรมปาล์มน้ำมัน ที่สุราษฎร์ธานี ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 133)

คณะอนุกรรมาธิการ ตสร. ด้านยุทธศาสตร์ความสามารถในการแข่งขัน วุฒิสภา ลงพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไปดูโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืนด้วยนวัตกรรม ของศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี มีคุณวิชณีย์ ออมทรัพย์สิน เป็นผู้รับผิดชอบ


” โรงพยาบาลอู่ทอง ฐานพัฒนาเมืองสมุนไพร ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 132)

สุพรรณบุรีมีวิสัยทัศน์การพัฒนาปี 2566 – 2570 สู่การเป็นจังหวัดเกษตรกรรมยั่งยืน เศรษฐกิจเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี สังคมมีสุข


“ เกษตรแข็งขัน จันทบุรี ” ตะลอนเมืองทุเรียน ส่องความก้าวหน้า  รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 131)

ในมุมมองของยุทธศาสตร์ชาติด้านความสามารถในการแข่งขัน ย่อมให้ความสำคัญต่ออัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของแต่ละจังหวัด